What is

Health
Security

ความมั่นคงด้านสุขภาพ

คำนี้มีการใช้อย่างแพร่หลายในวงกว้างมีการกำหนดนิยามและขอบเขตแตกต่างกันไป ในที่นี้จะอธิบายความหมายสำคัญโดยรวมจากนิยามขององค์การอนามัยโลกและศูนย์ควบคุมโรคติดต่อสหรัฐอเมริกาความมั่นคงทางสุขภาพ หมายถึงการมีระบบสุขภาพที่เข้มแข็ง ยืดหยุ่น และยั่งยืน (strong/resilience/sustainable) เพียงพอที่จะป้องกัน ตรวจจับ และตอบสนองต่อภัยสุขภาพ รวมถึงการลดอันตรายและผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ไม่ว่าภัยสุขภาพนั้นจะเกิดขึ้นที่ใดในโลก 

How is Thailand doing ?

Global health security capacity: Tools and measurement

ระดับโลก มี 2 เครื่องมือหลักที่ใช้วัดขีดความสามารถด้านสาธารณสุขฉุกเฉิน ได้แก่ JEE และ GHSI

Provincial Health Security Capacity

เครื่องมือประเมินระดับจังหวัดมีหลายเครื่องมือ อย่างไรก็ตาม ณ ปัจจุบัน อยู่ระหว่างการพัฒนา เครื่องมือกลางที่แต่ละจังหวัดจะสามารถนำไปใช้ ประเมินขีดความสามารถของตนเอง

Global Health Security (GHS) Index

เป็นการประเมินเพื่อวัดระดับขีดความสามารถด้านความมั่นคงทางสุขภาพของ 195 ประเทศ

Global Health Security Index 2021
ประเทศไทย
68.3 คะแนน
5/196 อันดับ
-0.5
เปลี่ยนแปลงจากปี 2020
โดยรวม 63.9 65.7 28.4
การวิจัยแบบใช้คู่และวัฒนธรรมของวิทยาศาสตร์ที่รับผิดชอบ 33.3 33.3 2.6
2.2) ห่วงโซ่อุปทานของห้องปฏิบัติการ 100 100 15.9
3.7) ข้อจำกัดทางการค้าและการเดินทาง 75 0 39
5.2) ข้อตกลงข้ามพรมแดนเกี่ยวกับการตอบสนองต่อเหตุฉุกเฉินด้านสาธารณสุขและสุขภาพสัตว์ 50 50 50
6.5) ความเปราะบางด้านสาธารณสุข 70.6 70.7 55.3
ป้องกัน 63.9 59.7 28.4
ความต้านทานต่อยาต้านจุลชีพ (AMR) 66.7 66.7 45.3
โรคที่ติดเชื้อจากสัตว์สู่คน 64.1 64.1 19.8
ความปลอดภัยทางชีวภาพ 69.3 69.3 18.7
ความปลอดภัยทางชีวภาพ 50 50 20.9
การวิจัยแบบใช้คู่และวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ที่รับผิดชอบ 33.3 33.3 2.6
การสร้างภูมิคุ้มกัน 100 75 63.3
ตรวจจับ 63.8 59.4 28.4
2.1) ความเข้มแข็งและคุณภาพของระบบห้องปฏิบัติการ 87.5 87.5 44.9
2.3) การเฝ้าระวังและการรายงานแบบเรียลไทม์ 75 100 34.6
การตอบสนอง 62.8 59.4 28.8
3.6) การเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานด้านการสื่อสาร 83.5 79.7 65.7
3.5) การสื่อสารความเสี่ยง 100 100 57.9
สุขภาพ 62.8 59.4 28.4
4.1) ศักยภาพด้านสุขภาพในคลินิก โรงพยาบาล และศูนย์ดูแลชุมชน 39.6 56.2 30
4.2) ห่วงโซ่อุปทานสำหรับระบบสุขภาพและบุคลากรทางการแพทย์ 50 50 28.5
4.3) มาตรการรับมือทางการแพทย์และการจัดกำลังบุคลากร 0 0 10.3
บรรทัดฐาน 62.8 59.4 28.4
5.1) การรายงานการปฏิบัติตามข้อกำหนดของ IHR และการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ 100 100 58.5
5.3) ข้อผูกพันระหว่างประเทศ 90.6 96.9 56.1
5.4) JEE และ PVS 25 25 18.7
ความเสี่ยง 62.8 59.4 28.4
6.1) ความเสี่ยงทางการเมืองและความมั่นคง 35.1 46.1 58.1
6.2) ความยืดหยุ่นทางเศรษฐกิจและสังคม 62.8 63.1 60.9
6.4) ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม 75.9 60.4 54.7
ทดสอบเพิ่ม 23 56 49
เทสเทส 100 50 45.3

วิวัฒนาการ
การอภิบาลสุขภาพโลก
และความมั่นคงด้านสุขภาพ

โรคระบาดก่อให้เกิดการสูญเสียชีวิตและเกิดผลกระทบต่อสังคมในวงกว้างในหลายยุคสมัย จากอดีตถึงปัจจุบัน การระบาดมีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่อง โดยที่ประเทศต่างๆ เริ่มมีปฏิสัมพันธ์และรวมตัวกันพัฒนาระบบสุขภาพโลกเพื่อแก้ไขปัญหาโรคระบาด เนื้อหาในส่วนนี้เล่าถึงวิวัฒนาการและเหตุการณ์สำคัญในระดับโลกที่มีผลต่อการจัดระเบียบการอภิบาลโรคระบาด

ค.ศ. 541 - 1850
กาฬโรคแห่งจัสติเนียน กาฬโรคครั้งใหญ่ และอหิวาตกโรค
ยุคที่ประเทศต่าง ๆ ยังไม่มีการรวมตัวกัน

เป็นยุคที่ประเทศต่าง ๆ ยังไม่มีการรวมตัวกัน และเกิดโรคระบาดที่รุนแรงหลายระลอก ก่อให้เกิดการสูญเสียชีวิตอย่างมากทั่วโลก

อ่านต่อ

ค.ศ. 1851 - 1925
อหิวาตกโรคและไข้หวัดสเปน
ยุคของการรวมตัวของประเทศต่าง ๆ เพื่อหารือการควบคุมโรคระบาดร่วมกัน

ประเทศต่าง ๆ เริ่มมีการพบปะพูดคุยกันเป็น ครั้งคราว (Adhoc multilateral) ต่อมาเริ่ม มีการพูดคุยกันสม่ำเสมอในประเด็นที่ต้อง การการทำงานร่วมกัน (Institutional mu ltilateral) และประเด็นการควบคุมโรคระ บาดเป็นวาระหนึ่งที่มีการหยิบยกมาหารือ ร่วมกัน

อ่านต่อ

ค.ศ. 1926
เกิดกฎหมายระหว่างประเทศ International Sanitary Convention

นับเป็นความเคลื่อนไหวและจุดเริ่มต้นที่สำ คัญการเริ่มจัดการโรคระบาดอย่างเป็นระ บบในระดับโลก มีการปรับปรุงในเวลาต่อมา จนเป็นกฎอนามัยระหว่างประเทศที่ใช้อยู่ใน ปัจจุบัน เพื่อให้ทันกับบริบทของการระบาด ในระดับโลก

อ่านต่อ

ค.ศ. 1946
กำเนิดองค์การอนามัยโลก

การจัดตั้งองค์การอนามัยโลกขึ้น เพื่อเป็น หน่วยงานดูแลด้านสุขภาพให้แก่ประชาคม โลก โดยเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจเฉพาะภาย ใต้สหประชาชาติ UN specialized Agency

อ่านต่อ

ค.ศ. 1951 - 1969
ไข้หวัดใหญ่เอเชีย อหิวาตกโรค และไข้หวัดใหญ่ฮ่องกง
วิวัฒนาการของ International HealthRegulation (IHR)

เพื่อเป็นเครื่องมือสำคัญทางกฎหมายในการแก้ไขโรคระบาดในยุคนั้น เช่น กาฬโรค ไข้เหลือง ไข้ทรพิษ และอหิวาตกโรค โดยไม่รบกวนการค้าระหว่างประเทศ

อ่านต่อ

ค.ศ. 1995 - 2002
เสนอแก้ไข ทบทวน IHR ท่ามกลางความเห็นที่หลากหลายของประเทศสมาชิกWHO

เมื่อมีการจัดตั้งองค์การอนามัยโลก มีการ ปรับปรุง The International Sanitary Regulations เพื่อรวบรวมข้อตกลงระหว่าง ประเทศหลายฉบับภายใต้ International Sanitary Convention ให้มาอยู่ในเครื่อง มือเดียวกัน

อ่านต่อ

ค.ศ. 2003
เกิดโรคซาร์ส
แต่งตั้ง Intergovernmental WorkingGroup (IGWG) เพื่อรับมือกับโรคซาร์ส

จากการระบาดของ SARS ทำให้ทั่วโลกเกิด การตื่นตัวและทำให้มีการแต่งตั้ง Intergo vernmental Working Group (IGWG) เพื่อเร่งรัดการดำเนินงานแก้ไข IHR

อ่านต่อ

ค.ศ. 1500
Vicente Yáñez Pinzón ได้เดินทางเข้าสู่บราซิล

นักสำรวจชาวสเปน Vicente Yáñez Pinzón ได้เดินทางเข้าสู่บราซิลแต่ถูกขัดขวางโดยถูกอ้างว่ามีในสนธิสัญญาบายาโดลิด

อ่านต่อ

ค.ศ. 2005
รับรองกฎอนามัยระหว่างประเทศ

การประชุมสมัชชาอนามัยโลกสมัยที่ 58 และมีการบังคับใช้จะเห็นได้ว่ากระบวนการ แก้ไขปรับปรุงและการเจรจาต่อรองใช้เวลา นานถึง 10 ปีและมีการเร่งรัดกระบวนการ ด้วยความเร่งรีบในเวลารวมประมาณ 18 เดือน

อ่านต่อ

ค.ศ. 2006 - 2014
เกิดไข้หวัดหมู
สร้างคำมั่นสัญญาร่วมกันผ่านการประเมินและพัฒนาขีดความสามารถตามมาตรฐานIHR

จากการระบาดของ SARS ทำให้ทั่วโลกเกิด การตื่นตัวและทำให้มีการแต่งตั้ง Intergo vernmental Working Group (IGWG) เพื่อเร่งรัดการดำเนินงานแก้ไข IHR

อ่านต่อ

หลัง ค.ศ. 2014
กลุ่มประเทศที่มีอิทธิพลเคลื่อนไหวและผลักดันความมั่นคงด้านสุขภาพ Global Health Security Agenda (GHSA)

นอกจากความเคลื่อนไหวภายใต้องค์การ อนามัยโลกแล้วยังมีความเคลื่อนไหวสำคัญโดย กลุ่มประเทศที่มีอิทธิพลทางการเมืองในระดับโลก

อ่านต่อ

Stories from the field

  • “จิตอาสา ThaiCare (แม่บ้าน จังหวัดศรีษะเกษ) เล่าถึงประสบการณ์ช่วยเหลือผู้ป่วยประเทศเพื่อนบ้าน ลาว, กัมพูชา, พม่า ในการกลับบ้าน”
  • “นักเทคนิคการแพทย์จังหวัดภูเก็ต เล่าถึงประสบการณ์การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เกินกำลังปกติจะรองรับ”
  • “นักวิชาการสาธารณสุข จังหวัดลำปาง (LGBTQ+) เล่าประสบการณ์การสื่อสารในการช่วยเหลือผู้ป่วยโควิดชาวต่างชาติ ซึ่งตนเองก็มีข้อจำกัดเรื่องภาษา แต่ในที่สุดก็ได้ประสานงานกับกรมควบคุมโรค พัฒนาคู่มือการกักตัวภาษาอังกฤษ”
  • “นักวิชาการวัฒนธรรมจังหวัดบุรีรัมย์ เล่าเรื่องบทบาทของเครือข่ายทางวัฒนธรรมกับการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางในจังหวัดบุรีรัมย์ 23 อำเภอ โดยทำงานที่ศาสนสถาน”
  • “นักวิชาการ สธ. รับผิดชอบฉีดวัคซีนโควิดในพื้นที่ที่เข้าถึงยาก ได้แสดงมุมมองที่เห็นข้อจำกัดการเข้าถึงบริการของประชากรกลุ่มเปราะบาง และมุมมองของทีมเจ้าหน้าที่ ที่แม้จะไม่มีองค์ความรู้แค่ก็มีความพยายามและร่วมทำงาน”
  • “พนักงานสาธารณสุข จังหวัดปัตตานี โรงพยาบาลธัญญารัก เล่าถึงการควบคุมโรคบริเวณสะพานปลา ซึ่งเป็นพื้นที่เขตเศรษฐกิจของปัตตานี ต้องการมีให้บริการรงงานต่างด้าว รวมถึงการจัดตั้งโรงพยาบาลสนาม 2 แห่ง และ CI และระบบ boat isolation”
  • “เจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรค สนามบินภูเก็ต สะท้อนแนวคิดความมั่นคงของการเตรียมความพร้อมด่าน”
  • “จิตอาสา เล่าประสบการณ์การป่วยจากโควิด และการได้ช่วยเหลือผู้ป่วยด้วยกันในหอผู้ป่วย และได้เรียนรู้ว่า แม้เราจะป่วย เราก็ยังสามารถช่วยเหลือผู้ป่วยคนอื่นได้”
  • “พยาบาลอุดมการณ์หมวกขาว และดอกปีปเล่าประสบการณ์ และ spirit ในการมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาโควิด”
  • “นักพัฒนาสังคม กทม. ที่มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยเด็ก ในศูนย์ CI เด็ก เขตดุสิต”

สถานการณ์โควิด 19  ส่งผลกระทบต่อชีวิตของทุกคนไม่มากก็น้อยเราเชื่อว่า เรื่องราวที่หลากหลาย เป็นองค์ความรู้ที่มีคุณค่า ที่ควรนำมารวบรวมและบันทึก รวมทั้งนำมาแบ่งปันเพื่อจุดประกายแรงบันดาลใจของผู้คน อีกทั้งยังช่วยสะท้อนความจริงที่เกิดขึ้น เพื่อเรียนรู้และนำสู่การพัฒนาทั้งระดับบุคคล ชุมชน ภูมิภาค และประเทศ

  • “นักเรียน ม.6 เล่าประสบการณ์ผลกระทบจากการเรียน online และผลกระทบด้านเศรษฐกิจของครอบครัวที่ได้รับจากโควิด”
  • “พยาบาล รพสต. จังหวัดยะลา เล่าถึงประสบการณ์การรณรงค์วัคซีนโควิดในชุมชนมุสลิม ที่มีความเชื่อตามหลักศาสนา และการที่ต้องมีบทบาทหลากหลายนอกเหนือจากการเป็นพยาบาล เพื่อตอบสนองต่อปัญหาโควิด”
  • “แพทย์โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา เล่าเรื่องรูปแบบการจัดการวัคซีน Hack vax”
  • “นักวิชาการสาธารณสุขสังกัด สปคม. เล่าความประทับใจในการทำงานโครงการ Super rider จิตอาสาช่วยขนส่งตัวอย่างจากผู้ป่วยตามบ้านมาตรวจทางห้องปฏิบัติการ”
  • “ศุภนิมิตร่วมมือกับ ThaiCare และ WHO พัฒนาสายด่วนช่วยแรงงานข้ามชาติ สะท้อนประเด็นการเข้าถึงบริการของแรงงานข้ามชาติ (ขายที่ดินเพื่อมารักษาอาการข้างเคียงหลังได้รับวัคซีน)”
  • “นักเรียน ม.6 เล่าประสบการณ์ในการเริ่มต้นเรียนชั้น ม.4 ในโรงเรียนใหม่ในช่วงโควิด ที่ต้องเรียน online และผลกระทบด้านสังคม”
  • “ข้าราชการเล่าเรื่องการติดเขื้อหมู่ในสำนักงาน และการบริหารจัดการในมาตรการต่าง ๆ รวมถึง WFH”
  • “พยาบาลลูกอ่อน เล่าถึงความประทับใจในการปฏิบัติงานในช่วงโควิด”
  • “ประชาชนชุมชนมุสลิมในจังหวัดสตูล ได้เล่าการเป็นจิตอาสาช่วยเหลือชุมชน และร่วมมือกับ ThaiCare”
  • “ประชาชนจิตอาสา เล่าความภูมิใจที่ได้ช่วยเหลือผู้ป่วยและเล่าผลกระทบของตนเองที่แม่ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยง (สูงอายุและโรคอ้วน) เสียชีวิตจากโควิด รวมถึงความกลัวที่ตนเองก็มีความเสี่ยง (โรคอ้วน)”

Publications

สำหรับผู้สนใจค้นหาเอกสารอ้างอิงที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงด้านสุขภาพ ส่วนนี้ได้รวบรวมเอกสารนโยบาย
แผนยุทธศาสตร์ รายงาน วารสาร เครื่องมือทางวิชาการ หลักปฏิบัติ และข้อแนะนำต่างๆ
(Tools, guidelines, and guidances) ทั้งจากนานาชาติและในประเทศ

COVID-19 Research and Innovation: Powering the world’s pandemic response – now and in the future

รายงานเวอร์ชั่นนี้เน้นให้ความสำคัญกับความพยายามในการวิจัยระดับโลกที่ไม่ย่อท้อและไม่รู้จักเมื่อมาถึงการควบคุมโรค COVID-19

How global research can end this pandemic and tackle future ones

ในระหว่างการระบาดของโรคระหว่างแพร่ระบาด องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้เป็นเจ้าภาพสามการประชุมที่สำคัญของผู้เชี่ยวชาญระดับโลกเกี่ยวกับงานวิจัยและนวัตกรรมซึ่งได้ช่วยรวมรูปแบบแผนงานการวิจัยระดับโลกสำหรับ COVID-19 รวมถึงแผนที่ศึกษาสำหรับการจัดการฉุกเฉินตั้งแต่เริ่มแรกของการระบาดนี้

Guidance and tools for conducting a country COVID-19 after action review (AAR)

คำแนะนำนี้สำหรับการทบทวนการดำเนินงานหลังจากสถานการณ์ COVID-19 (AAR) ของประเทศ มีจุดมุ่งหมายเพื่อสนับสนุนประเทศต่าง ๆ ในการบรรลุข้อเสนอแนะนี้ เพื่อทบทวนการตอบสนองต่อ COVID-19 อย่างเป็นระบบ โดยให้คำแนะนำทีละขั้นตอนและเครื่องมือที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการ AAR สำหรับ COVID-19 ของประเทศ

Guidance for after action review (‎‎AAR)

คำแนะนำขององค์การอนามัยโลกสำหรับการทบทวนการดำเนินงานหลังปฏิบัติการ (AAR) ได้นำเสนอวิธีการสำหรับการวางแผนและการดำเนินการ AAR ที่ประสบความสำเร็จ เพื่อทบทวนการดำเนินการที่ได้ปฏิบัติไปในการตอบสนองต่อเหตุการณ์ด้านสาธารณสุข และยังเป็นเครื่องมือการจัดการที่ใช้เป็นประจำสำหรับการเรียนรู้และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

Guidance for conducting a country COVID-19 intra-action review (IAR)

องค์การอนามัยโลกได้พัฒนาคำแนะนำสำหรับการดำเนินการทบทวนการดำเนินงานระหว่างปฏิบัติการ (IAR) สำหรับ COVID-19 ของประเทศ เพื่อแนะนำประเทศต่าง ๆ ในการดำเนินการทบทวนการตอบสนองต่อ COVID-19 ในระดับประเทศและระดับท้องถิ่นเป็นระยะ เพื่อให้พวกเขาไม่พลาดโอกาสสำคัญในการเรียนรู้และปรับปรุงเพื่อตอบสนองต่อการระบาดของ COVID-19 ในประเทศของตนได้ดียิ่งขึ้น

COVID-19 Research and Innovation: Powering the world’s pandemic response – now and in the future

รายงานเวอร์ชั่นนี้เน้นให้ความสำคัญกับความพยายามในการวิจัยระดับโลกที่ไม่ย่อท้อและไม่รู้จักเมื่อมาถึงการควบคุมโรค COVID-19

Articles

ส่วนนี้นำเสนอบทความหรือความเคลื่อนไหวที่น่าสนใจเกี่ยวกับความมั่นคงด้านสุขภาพ ทั้งในระดับโลกและใน
ประเทศไทย โดยสะท้อนมุมมองทั้งด้านสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม

13/03/2024

โรคอ้วนและน้ำหนักเกิน

สภาพแวดล้อมที่ก่อให้เกิดโรคอ้วนซึ่งทำให้โอกาสที่จะเป็นโรคอ้วนในบุคคล ประชากร และในสภาพแวดล้อมต่างๆ รุนแรงขึ้น มีความสัมพันธ์กับปัจจัยเชิงโครงสร้างที่จำกัดความพร้อมของอาหารที่ยั่งยืนและดีต่อสุขภาพในราคาที่เอื้อมถึงในท้องถิ่น การขาดการเคลื่อนไหวทางกายภาพที่ปลอดภัยและง่ายดายในชีวิตประจำวันของทุกคน และการขาดงาน มีสภาพแวดล้อมทางกฎหมายและข้อบังคับที่เพียงพอ

อ่านต่อ

โรคอ้วนและน้ำหนักเกิน

สภาพแวดล้อมที่ก่อให้เกิดโรคอ้วนซึ่งทำให้โอกาสที่จะเป็นโรคอ้วนในบุคคล ประชากร และในสภาพแวดล้อมต่างๆ รุนแรงขึ้น มีความสัมพันธ์กับปัจจัยเชิงโครงสร้างที่จำกัดความพร้อมของอาหารที่ยั่งยืนและดีต่อสุขภาพในราคาที่เอื้อมถึงในท้องถิ่น การขาดการเคลื่อนไหวทางกายภาพที่ปลอดภัยและง่ายดายในชีวิตประจำวันของทุกคน และการขาดงาน มีสภาพแวดล้อมทางกฎหมายและข้อบังคับที่เพียงพอ

อ่านต่อ

10 ปัญหาสุขภาพทั่วโลกที่ต้องติดตามในปี 2564

WHO และพันธมิตรจะอยู่เคียงข้างพวกเขา เราจะทำงานเพื่อช่วยให้ประเทศต่างๆ เตรียมความพร้อมรับมือกับโรคระบาดและเหตุฉุกเฉินอื่นๆ มากขึ้น เราจะเตือนพวกเขาถึงความสำคัญของการรวมประเทศต่างๆ เข้าด้วยกัน และการมีส่วนร่วมของทั้งรัฐบาล ไม่ใช่แค่ภาคสุขภาพเท่านั้น และเราจะสนับสนุนพวกเขาในการสร้างระบบสุขภาพที่แข็งแกร่งและประชากรที่มีสุขภาพดี

อ่านต่อ

ผลกระทบของโควิด-19 ต่อการดำรงชีวิตของผู้คน สุขภาพ และระบบอาหารของเรา

องค์กรนับล้านเผชิญกับภัยคุกคามที่มีอยู่ เกือบครึ่งหนึ่งของแรงงานทั่วโลก 3.3 พันล้านคนทั่วโลกมีความเสี่ยงที่จะสูญเสียอาชีพการดำรงชีวิต แรงงานนอกระบบมีความเสี่ยงเป็นพิเศษ เนื่องจากคนส่วนใหญ่ขาดการคุ้มครองทางสังคม การเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ และสูญเสียการเข้าถึงสินทรัพย์ที่มีประสิทธิผล หากไม่มีรายได้ในช่วงล็อกดาวน์ หลายคนไม่สามารถหาเลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้ สำหรับคนส่วนใหญ่ การไม่มีรายได้หมายถึงไม่มีอาหาร หรือที่ดีที่สุด อาหารน้อยลงและมีคุณค่าทางโภชนาการน้อยลง

อ่านต่อ

WHO เลือกไข้หวัดใหญ่พันธุ์ไทยปั๊ม วัคซีนป้องกัน

นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ รักษาราชการแทนอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กล่าวถึงสถานการณ์ของโรคไข้หวัดใหญ่ว่า จากผลการวิเคราะห์ ลำดับพันธุกรรมของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่จากทั่วโลก...

อ่านต่อ

การวิจัยระดับโลกเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด-19)

การกล่าวถึงบริษัทใดบริษัทหนึ่งหรือผลิตภัณฑ์ของผู้ผลิตบางรายในสิ่งพิมพ์ที่ระบุไว้ในฐานข้อมูลไม่ได้หมายความว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวได้รับการรับรองหรือแนะนำโดย WHO มากกว่าบริษัทอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันซึ่งไม่ได้กล่าวถึง ยกเว้นข้อผิดพลาดและการละเว้น ชื่อของผลิตภัณฑ์ที่เป็นกรรมสิทธิ์จะแยกความแตกต่างด้วยอักษรตัวใหญ่เริ่มต้น

อ่านต่อ

Research and Innovation

ในช่วงวิกฤต การสร้างและรวบรวมองค์ความรู้ เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายในการแก้ไขปัญหาการระบาดเป็นหัวใจสำคัญที่จะช่วยให้ประเทศผ่านพ้นสถานการณ์ยากลำบาก ส่วนนี้นำเสนองานวิจัยและนวัตกรรมที่ได้นำมาประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายในการแก้ไขปัญหาในช่วงวิกฤติภัยสุขภาพ โดยรวบรวมผลผลิตจากการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม นอกจากนี้ ได้มีการรวบรวม Research series ที่มีบทบาทสำคัญในช่วงโควิด 19 และในอนาคตจะนำเสนองานวิจัยและนวัตกรรมที่น่าสนใจเพิ่มเติม

ข่าวและอัพเดท

เหตุการณ์ล่าสุด

อ่านเพิ่มเติม
20 สิงหาคม 2567 01:00:00 – 12:00:00

แผ่นดินไหวในตุรกีและซีเรีย – วิธีที่ WHO ยังคงตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพในหนึ่งปีผ่านไป

หนึ่งปีที่แล้ว ในช่วงกลางฤดูหนาว เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงต่อเนื่องทั้งทางตอนใต้ของตุรกีและทางตอนเหนือของซีเรีย คร่าชีวิตผู้คนไปแล้วกว่า 59,000 ราย แบ่งเป็นมากกว่า 53,500 รายในตุรกี และ 5,900 รายในซีเรีย มีผู้ได้รับบาดเจ็บอีกหลายหมื่นคน บ้านเรือนและอาคารสาธารณะหลายพันหลัง รวมถึงโรงพยาบาล ได้รับความเสียหายหรือถูกทำลาย นี่เป็นหนึ่งในภัยพิบัติครั้งใหญ่ที่สุดในภูมิภาคในช่วงไม่กี่ครั้งที่ผ่านมา

อ่านต่อ

16 พฤษภาคม 2567 08:00:00 – 23:00:00

อินเดีย: นำการดูแลสุขภาพเบื้องต้นมาสู่ประชากรห่างไกลในรัฐฉัตติสครห์

นาย Telamukta อาศัยอยู่ใน Chihalgondi หมู่บ้านห่างไกลใน Chhattisgarh ประเทศอินเดีย เขาไม่เคยไปพบแพทย์เพราะขาบวมและหายใจไม่ออก เพราะเขาอยู่ไกลเกินกว่าจะไปโรงพยาบาลได้ วันหนึ่ง เขาสังเกตเห็นบางสิ่งที่แตกต่างออกไปในตลาดชุมชน Haat Bazaar ในท้องถิ่นของเขา โดยเขาเดินทางไปซื้อของชำของครอบครัวทุกสัปดาห์ หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ให้บริการตรวจสุขภาพและรักษา

อ่านต่อ

12 มิถุนายน 2567 12:00:00 – 18:00:00

ผู้บริจาคสร้างความแตกต่าง: WHO ชุมชน และพันธมิตรร่วมมือกันเพื่อยุติโรคติดเชื้อ

การบริจาคให้กับ WHO ถูกนำมาใช้เพื่อปลดปล่อยชุมชนจากโรคติดเชื้อที่เป็นอันตรายหลายชนิด บางชนิด เช่น มาลาเรีย คร่าชีวิตเด็กเป็นหลัก สาเหตุอื่นๆ เช่น หนอนกินีที่ทำให้เสียโฉมและการติดเชื้อโนมา มีความเชื่อมโยงกับการเข้าถึงน้ำสะอาดที่ยากจนและความยากจนในด้านอื่นๆ

อ่านต่อ

17 พฤษภาคม 2567 00:00:00 – 23:00:00

การชำระเงินทางดิจิทัลให้กับเจ้าหน้าที่ด้านสุขภาพช่วยเพิ่มการรักษา แรงจูงใจ และผลกระทบ

การรณรงค์ในแอฟริกาเพื่อหยุดยั้งโรคโปลิโอและโรคอื่นๆ ทำให้บุคลากรมีความมั่นคงและมีแรงจูงใจดีขึ้น ต้องขอบคุณความร่วมมือของ WHO กับประเทศและพันธมิตรในการจ่ายเงินให้กับบุคลากรทางการแพทย์ที่อยู่แนวหน้าผ่านโทรศัพท์มือถือ แทนที่จะเป็นเงินสด

อ่านต่อ